close

Andrew Drummond

I Am A Thai Court Mediator – Pattaya Publisher And Former Pimp Told theDanish Supreme Court

I WOULD NOT TOUCH DRUGS – SAID REFORMED DANISH PIMP
(CONTINUING A Flying Sporran Focus on Pattaya’s newspaper publishers)

It was the end of a long battle and Niels Storm Martens Colov felt he had been vindicated. But ten years on this prominent if not very important 63-year-old figure in Pattaya society still believes there is a conspiracy against him.

The Jyllands Posten newspaper in Denmark, once a farmers’ favourite but which had developed into Denmark’s most influential paper, had said that Colov (left in his Copenhagen apartment) was a suspected ‘drugs trafficker’ and the top man in a group based in Pattaya which had sent 40 kilos of heroin to Denmark.

Indeed Niels Colov, currently Project Leader of the Pattaya Police Foreign Volunteers in Pattaya was a suspected drugs trafficker, a fact which he admitted himself. He clearly associated with drugs traffickers. They were amongst his best friends.

But that did not make him one himself, even though the journalist Eric Holger Thomle Nielsen had met a senior policeman in Police HQ in Copenhagen and caught a glimpse of Mr. Colov’s file, which seemed to confirm the claim.

Mr. Colov went into court in Denmark with guns blazing. He was a Buddhist vegatarian Scout leader and philanthropist – and what’s more he was a mediator in the provincial court in Thailand!

In fact by then a Danish police investigation into Mr. Colov, who runs the Pattaya People Media Group, (and one other person known as ‘F’) collapsed and the Danish newspaper lost the gamble it had taken. Colov, who at one stage been summonsed by police for interview, insisted that while he might know some people who did, he would never ever touch narcotics – something many of us could admit to.

Even though Colov was only identified by his initials, it was to cost the newspaper.

After losing initially in the Danish (Landsretten) High Court finally in the Danish Supreme Court Colov won in 2002 and Nielsen and the publisher were ordered to pay damages of over 130,000 Danish kroner. (Case I 479/2000).

Danish Embassy, Bangkok

Actually the newspaper, which had always stated there was insufficient evidence against Mr. Colov (if in doubt leave out ) brought up the suspicion of his involvement in drugs trafficking on a less controversial story alleging that he and a Danish diplomat, based at the Danish Embassy in Bangkok were involved together in a beauty product ‘pyramid’ selling scam being launched on Denmark involving a product called Nu-Skin.

( ‘Nu Skin’ is selling well legally today but not before actions taken against it in America before and while the newspaper was investigating.

In 1994 after an investigation by the Federal Trade Commission, the company was forced to pay US$1 million and was forced to sign an order prohibiting it from making deceptive or unsubstantiated claims about its products. In 1997, the company also paid a further US$1.5 million to settle ongoing allegations of unsubstantiated promotional claims.)

The Jyllands Posten story began:

 “With a narcotics suspected Dane in a leading position, an American pyramid firm is planning a comprehensive attack on the Danish cosmetics market next year. This spring, the firm Nu Skin came to Thailand and it is now recruiting sales people among members of Scandinavian Society.”

Not a very exciting start.

Danish Consul recalled

The newspaper was concerned with Colov’s association with the then Danish Consul Christian Warming, whose name together with that of Colov had come to the attention of rather alarmed Danish Police in Copenhagen.

Warming was later summonsed home having built up massive personal debts in Thailand, which may have had something to do with his Thai wife, who in fact HE said was the person involved in Nu Skin: Again not very exciting stuff.

Although the newspaper knew about Colov’s past in Vesterbro, the red-light area of Copenhagen, his propensity for violence and his prison sentence, not to mention bad taste in white leather furniture, they could not mention his gangster days to warn readers.
Under strictly enforced Danish Rehabilitation of Offenders laws once a prisoner has served his time, and after a certain period dependent on the severity of offences, those offences are deemed spent and are washed from the record.

Newspapers in Denmark publishing details could face much more serious contempt of court charges.

By the very same token when he applied for a certificate from the Danish Police that he was free from any crime connections for the purpose of joining the Pattaya Police Foreign Volunteers Niels Colov would have got it.

The episode was galling for Erik Nielsen and the Jyllands Posten.

Nielsen had also established a connection between Colov and another Dane called Rene Larsen. Larsen also lived in Pattaya, and was yet another drugs trafficker, who freely associated with the ‘Vesterbro’ set of Danish criminals living in the resort.

Colov had also similar connections – more specifically through at least Lonne Fristrup Jensen (right)– a career drugs dealer and pimp, and a man of violence, and also a man called Guld ‘Gold’ Bjarne another but more affable Vesterbro veteran.

Larsen held lavish parties at his Pattya pool villa. He was also a bit of a career escapologist.

Larsen was extradited from Thailand in July 1993 and was subsequently jailed in Copenhagen for 8 years for trafficking in over 4 kilos of heroin.

But he escaped from Vridsloselille Prison, Glostrup, outside Copenhagen in September of the same year – I am not sure if it was when the walls were pulled down by a JCB as in the video below. But I am told the driver of this vehicle also had a bar in Pattaya.

Larsen turned up again mysteriously in Thailand – without anybody so much as anybody blinking – and went back to his pool villa.

Rene Larsen held at gun point in Pattaya

Police did not catch up with him again until 1996 when he was stopped at gun point in Pattaya by officers of the Crime Suppression Division acting at the request of Scandinavian Police. Larsen was travelling under a British passport in the name of Anthony Allen, a person he continued to insist he was when I saw him in Pattaya Police station.

But the Danish courts were told that Erik Thomle Nielsen, posing merely as a fellow Dane and concealing the fact initially that he was a journalist, had a very long conversation with Mr. Colov in a restaurant in Pattaya in which Colov casually admitted that he had got Larsen’s vehicle after his arrest. Again a connection, but no proof of trafficking.

Curiously Larsen was never extradited to Denmark.

Again he disappeared from prison and re-appeared under his own steam in Copenhagen where he was arrested. Evidently he did not wish to go through the laborious extradition process while consuming Thai prison food.

In an article published two years ago publicising the new Pattaya Transnational Crime Data Centre, equipped with a staff of 12 and a 6-million-baht (US$184,615) computer system, Peter Jannsen of Bureau Chief of DPA claimed that Rene Larsen had close contacts with Pattaya Police. Indeed Larsen’s sister was married to a Thai policeman.

Amorn Malhotra

The Jyllands Post journalist, a veteran on the paper for 27 years, made extensive enquiries in Pattaya. He even called on Amorn Malhotra at that time employed on the Pattaya Mail newspaper.

Nielsen did not specify what he was told.

But he could have found a mine of information. Colov had initially gone into a joint venture to run the Pattaya Mail with Prateep ‘Peter’ Malhotra, but that relationship was to sour.

Colov did not appear to be a gentle Buddhist vegetarian at all to the Malhotras and they compiled a ‘rainy day’ file.
But despite his enquiries Eric Nielsen could not drive all the nails in in his story – and indeed nor would he as a journalist identify his police contact.

Fortified by free lawyers Colov’s put this plea through his lawyer to the court as interpreted in the court judgment.

Mediator in a provincial criminal court

“He was born in 1948. He lives in Pattaya, Thailand, along with his wife and three children. He moved to Thailand for approximately 12 years ago (1989-90). Together with his wife, he runs a company, Dragon Enterprises Co.. Ltd., which among other things, publishes a newspaper, local phone book , tourist publications and website.

“In addition he has a small income from a personally run company Royal Jelly . He has an annual income of approx. 600,000 baht, equivalent to 120,000 kroner.

“He regards himself as reputable and respected in the community in Pattaya. He and his wife spend a large portion of their time on community activities.

“He participates in a service club, the local chamber of commerce and mediator in a provincial court. In addition he is a scout officer and adviser to the country’s scouting boss and participates in charitable projects. He is a Buddhist and vegetarian.

“It is true that he in 1970 was convicted of violence, illegal coercion, receiving stolen goods, vandalism and pimping in Vesterbro porn environment. He was sentenced to 15 months imprisonment.”

Niels Colov the gangster had become Colov the philanthropist and devout Buddhist. Stranger things have happened. Indeed Scot Lockie Campbell (above), who used to run with Glasgow razor gangs and graduated to bank robbery, and drugs trafficking, resurfaced in Cambodia in a temple in Sihanoukville after a long spell in a Chinese jail.*

But Danish newspapers took a lot of what Colov said above with a pinch of salt.

He has come a long way since he left ‘Snot’

The Danish Ekstra Bladet newspaper came across Mr. Colov on one of his many promotional appearances at the Ray Brennan Foundation, known simply then as the Pattaya Orphanage. The reporter watched as Mr.Colov interviewed the late Father Ray for his Pattaya People newspaper and then wrote.

“The former Vesterbro ‘live show’ pioneer also has for a number of years donated substantial sums to the Orphanage – usually during ceremonies attended by local photographers who thus immortalized Colovs generosity

“That’s how far the pornographer – who in his youth moved around at ease among such famous Vesterbro-figures like the now dead Svend Thevis (above) and his lieutenant, Stig Emmerich Poulsen, better known under the nickname ‘Snotten’ (snot) – has come.

“With help from the Snot, among others, Colov ran a number of the live shows, which were gold mines in the late 1970’s and in the early 1980’s. Later he emigrated to Thailand, where he settled in the notorious sex mecca Pattaya, and where he now says to have built up a very significant fortune.”

The Flying Sporran has no knowledge of the relationship with Snot and Colov.

But Niels Colov has not been amused by these reports, and also reports in Thailand.

Earlier this year he took out a large part of a page in his Pattaya People to announce the conspiracy against him.

NIELS COLOV’S CLAIM OF A CONSPIRACY

“Actually though he is Danish he has the heart of a Thai. He has lived in Thailand for 30 years and has worked with honesty and diligence as well as making much benefit to Thailand,” said an editor he sued for defamation.

What is most surprising about Niels Colov is perhaps why if he has turned his life around for the good does he not just say – ‘Yes I was a bad boy once but now I have come good.’ Or was he never bad? In Pattaya pimping is not a lonely business.

Perhaps people believe that anyone who goes into the business he was in does not actually come out of a certain mental state, as in leapords and spots.

Perhaps critics have become cynical because of the personalities he has attempted to cultivate as friends.

(Picture: Niels Colov with Kamnan Poh – an influential person officially sought for murder but still respected in Chonburi)

‘I showed Fellini not porn’

But then again if his past is protected in Denmark why should it not be protected here?

Contrary to what he told the Danish High and Supreme Courts Niels Colov has stated to this site: ” I am not, and have never been, married to Miss Laddawan Yingyong.”

He further denies running porn cinemas. He said he ran the Carlton Cineplex” on Vesterbrogade in Copenhagen with 3 screening rooms, the biggest holding up to 1,000 people in the audience.

“This cinema did not show any pornographic movies during my ownership, but mostly art movies like Fellini etc.”

This however does not sit well with another autobiogrphy written by Bo Rasmussen, known as ‘Red Kai’ in which Colov is linked to porno and ‘clip joints’ at Istedgade 28 and a place known as ‘Club 34’. Colov was allegedly paying ‘Red Kai’ rent.

Bo Rasmussen has also made a remarkable conversion and now helps children’s charities in Denmark after a life of pimping, drugs dealing, and even robbery.

Here’s how he describes one of his live-sex-show operations:

“You got an old bicycle storage and painted the walls black. So they bought a stack of chairs used at the Salvation Army, and we showed porn movies all night. Often we sold tickets for live sez shows, showed people to their seats, and then we disappeared with money. Then the male audience sat and sweated as they waited and waited for a porn show, which never came. “

He further states that apart from the Jyllands-Posten other papers have settled out of court with him for printing defamatory statements.

I am unaware of these stories, but a point raised in the Danish courts stated that he had not complained of similar stories in the Ekstra Bladet.

Mr.Colov has of course a full right of reply.

Coming soon: The Pattaya Expat Carve-up – When things went wrong.
* Lockie Campbell had a relapse and in April 2011 was arrested in Glasgow on drugs charges.

DANISH COURT JUDGMENTS IN THAI – COLOV DENIES ANYTHING TO WITH DRUGS, ADMITS HE WAS UNDER INVESTIGATION AND ADMITS PREVIOUS CONVICTIONS
ศาลสูง

วันที่ 2 กรกฎาคม 2545
คดีเลขที่ UfR 2002.2398

ผู้ต้องสงสัยเกี่ยวกับการเป็นราชายาเสพติด

(บทคัดย่อของเมเดียจูรา)2
บางบทความใน เจลแลนด์-พอสเลน ชาวเดนมาร์กซึ่งใช้ชีวิตอยู่ที่ประเทศไทยถูกอ้างว่าต้องสงสัยว่าจะเป็น ตัวการสำคัญในเรื่องยาเสพติด แม้ไม่ถูกเอ่ยชื่อแต่ก็เชื่อว่าเป็นดังนั้น ศาลสูงเห็นว่านักหนังสือพิมพ์ไม่มี ข้อมูลเพียงพอที่จะพิสูจน์ได้ว่าเป็นเช่นนั้น นักหนังสือพิมพ์และบรรณาธิการต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย สิ่งตีพิมพ์ซึ่งแต่ละคนได้ถูกตัดสินให้รับโทษปรับ 20 ข้อหาๆ ละ 1,000 โครน และให้ร่วมกันชำระ ค่าสินไหมทดแทนอีก 100,000 โครน

ข้อความในบทความ

ศาลสูงวันที่ 2 กรกฎาคม 2545 ในคดีเลขที่ 1 479 / 200 ระหว่าง นีลส์ สตอร์ม มาร์เต็นส์ โคลอฟ (ทนายความ คือ เจอร์เกน จาร์คอบสัน ที่โคเปนเฮเกน) กับ นักหนังสือพิมพ์ อีริค โฮลเกอร์ โทมเล่ เนลสัน และ บรรณาธิการซึ่งต้องรับผิดชอบตามกฎหมายสิ่งตีพิมพ์ เจอร์เกน เอจโบล (ทนายความ คือ โอเล่ ราฟน์โบ, เออร์ฮัท, ที่โคเปนเฮเกนสำหรับทั้งสอง)
คำพิพากษาของศาลสูง เวสเตร ในวันที่ 6 กันยายน 2543 (มาตราที่ 5) (ลิลโฮลท์, ครูท ราสมูเซ่น, เฮนริค ทอสซี่ (kts))
ในคดีแพ่ง ซึ่งเริ่มเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2541 นีลส์ สตอร์ม มาร์เต็นส์ โคลอฟ ในฐานะโจทก์ ได้ฟ้องร้องโดยไม่เสียค่าธรรมเนียม ซึ่งดำเนินการพิจารณาในวันที่ 6 มิถุนายน 2543 ได้ยื่นข้อหาดังต่อไปนี้ นักหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็น จำเลย อย่าง อีริค โฮลเกอร์ โทมเล่ เนลสัน และ บรรณาธิการ ให้รับผิดชอบตามกฎหมายสิ่งตีพิมพ์ เจอร์เกน เอลโบ ถูกตัดสินพิพากษาโทษในข้อหาละเมิดตามมาตรา 267 วรรค 1 และ 3 ตามประมวลกฎหมายอาญา
ข้อกล่าวหาที่แสดงข้างล่างตาม ก) – ญ) พบว่าไม่มีหลักฐาน และปราศจากความเห็นเกี่ยวกับสิ่งนี้ได้ถูกรวมอยู่ในข้อสรุปตามคำพิพากษา ตามมาตรา 273 วรรค 1 ของประมวลกฎหมายอาญา จำเลยยังต้องชำระเงินนับแต่เริ่มดำเนินการในศาลโดยต้องชำระค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการประกาศ ตามมาตรา 273 วรรค 2 แห่งประมวลกฎหมายอาญา รวมทั้งต้องจ่ายค่าเสียหายให้แก่โจทก์ฐานทำให้ชื่อเสียงเสียหายเป็นเงินจำนวน 500,000 โครน ตามมาตรา 26 วรรค 1 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดความเสียหาย คัดมาจากฟ้องที่พิมพ์เผยแพร่ในเจลแลนด์-พอสเทน เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2540- ก) » …… ผู้ต้องสงสัยเกี่ยวกับยาเสพติด ชาวเดนมาร์ก ……« ข)»……นักธุรกิจชาวเดนมาร์กที่ต้องสงสัยในเรื่องยาเสพติดอยู่ในเมืองชายหาดพัทยา ตามรายงานของตำรวจ เขาเกี่ยวข้องในฐานะตัวการสำคัญในขบวนการเฮโรอีนที่ใหญ่ที่สุด ตำรวจเดนมาร์กได้เปิดเผย มากกว่า 40 ปีที่ถูกตั้งข้อหาว่ากระทำผิดฐานค้าของเถื่อน หรือจำหน่ายเฮโรอีนจากประเทศไทย แต่ตำรวจไม่มีหลักฐานในกรณีที่เกี่ยวกับนักธุรกิจ …« ค)»…… ผู้ต้องสงสัยเรื่องยาเสพติดชาวเดนมาร์ก «คัดมาจากคำฟ้องที่พิมพ์เผยแพร่ในเจลแลนด์-พอสเทน เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2540- ง)»… แต่ที่อดีต รองหัวหน้าของสถานทูตในกรุงเทพฯ จะเป็นผู้ติดตามชายดังกล่าว NC ซึ่งตำรวจได้ประกาศมาหลายปีแล้วว่าเป็นตัวการสำคัญในวงจรยาเสพติดของเดนมาร์ก ทำให้สถานทูตและตำรวจต้องตกใจ ..«จ)»… ตัวการใหญ่ที่ถูกสงสัยเกี่ยวกับยาเสพติด….«ฉ)»… แต่กองบัญชาการตำรวจในกรุงโฮเปนเฮเกน ได้มีภาพของหนึ่งในสามผู้ที่ถูกเรียกตัว NC ซึ่งนั่งอยู่ในระดับสูงสุดของปีระมิด เหนือสมาชิกในวงจรยาเสพติดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ซึ่งตำรวจเดนมาร์กเป็นผู้เปิดเผย…«ช)»…. หลังจากนั้นมาเรื่องชื่อของเขาก็ถูกอ้างถึง ในรายงานตำรวจเกี่ยวกับ G,R และคนอื่นๆเกือบ 40 คน ที่ถูกตัดสินให้รับโทษจำคุกเป็นเวลานาน ในข้อหาการค้าของเถื่อนและขายเฮโรอีนจากประเทศไทย …«ซ)»…. แต่ตำรวจไม่มีหลักฐานเรื่องยาเสพติดของอดีตสมาชิกแก๊งอาชญากรซึ่งได้รับการตัดสินว่า มีความผิดฐานใช้ความรุนแรงทำธุรกิจทรัพย์โจรกรรม ทำให้เสียทรัพย์ และจัดหาสิ่งลามกในโลกของ เวสเทอร์โบร ในทศวรรษ 1970 ในท่ามกลางของความสนใจอย่างมากที่สุดของโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้าเด็กชาย และเด็กหญิง ซึ่งเขาเป็นหัวหน้าเครือข่ายธุรกิจซึ่งเชื่อมต่อไป ดรากอน เอ็นเตอร์ไพร์ส บริษัทนี้ได้ร่วมกับสำนักงานใหญ่ที่ชั้น 10 ในอาคาร สำนักงานที่ออกแบบทันสมัยในเมืองตากอากาศพัทยา ขณะนี้เขามีอายุ 49 ปีแล้ว ได้เลิกเหล้าเลิกบุหรี่อย่างสิ้นเชิง รับประทานมังสวิรัติ นับถือศาสนาพุทธ และเป็นหัวหน้าครอบครัวที่สมรสกับคนไทย ….«ฌ)»……การพูดคุยในช่วงนี้ จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเป็นหัวหน้าองค์กรยาเสพติดซึ่งรูปของเขาได้ถูกแสดง และเป็นทั้งพยาน และผู้ต้องสงสัย – ในช่วงการสอบสวนที่แผนกยาเสพติดในประเทศ……..«ญ)»…….. ผู้ต้องสงสัยในเรื่องยาเสพติด NC ……«ฎ)»…… หนึ่งในหัวหน้าคนสำคัญของปีระมิดสแกนดีเนเวียที่ถูกแจ้งว่าเป็นผู้ต้องสงสัยมากที่สุด…….«คัดมาจากข้อความที่เผยแพร่ใน เจลแลนด์-พอสเลน เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2540 ….«ฏ)»…. หนึ่งในนั้นได้อาศัยอยู่ในเมืองตากอากาศพัทยา ซึ่งถูกสงสัยว่าเป็นตัวการสำคัญในวงการยาเสพติดมาหลายปีที่มีสมาชิกชาวเดนมาร์กมากกว่า 40 ราย ที่ถูกตัดสินว่าค้าของเถื่อน และขายเฮโรอีนจากประเทศไทย แต่ตำรวจเดนมาร์กไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับ ข้อสงสัยการเป็นตัวการสำคัญในปีระมิด «ย่อมาจากบทความ ที่เผยแพร่ใน เจลแลนด์-พอสเลน เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2540 ฐ) » คนอื่นๆ ถูกตั้ง ข้อสงสัยมานานว่าเป็นตัวการสำคัญของ วงการยาเสพติดที่กว้างมากที่สุด ที่ตำรวจเดนมาร์กได้เปิดเผย แต่ตำรวจก็ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับตัวเขา «จำเลยได้ยื่นคำร้องต่อศาลเพื่อขอให้ยกฟ้อง เหตุการณ์เพิ่มเติมในคดีมีดังต่อไปนี้ ตามโทรสารวันที่ 29 สิงหาคม 2539 โจทก์ได้เขียนข้อความดังต่อไปนี้ถึงจำเลย อีริค โทมเล่ ว่า ถึง อีริค หลังการสนทนาทางโทรศัพท์ของเราเมื่อวานนี้ ข้าพเจ้ารู้สึกว่าต้องเขียนโทรสารนี้ถึงคุณ
คุณนำข้อมูลมาตรวจสอบผมเกี่ยวกับข้อกล่าวหาจากตำรวจเดนมาร์กว่าผมเกี่ยวข้องในอาชญากรรมยาเสพติดซึ่งมีการซื้อในระดับต้นในฐานะตัวการสำคัญในวงจรยาเสพติด โดยดำเนินการที่นี่จากประเทศไทย ไปเดนมาร์ก ผมขอปฏิเสธข้อกล่าวหาเหล่านี้ทั้งหมดอย่างสิ้นเชิง ว่าไม่เป็นความจริง 100 เปอร์เซ็นต์ ในชีวิตผมไม่เคยเกี่ยวข้องกับอาชญากรรมยาเสพติด และก็ไม่เคยทำเรื่องเช่นนี้มาก่อน และไม่เคยถูกตั้ง คำถามเกี่ยวกับยาเสพติด ยกเว้นภาพในหนังสือพิมพ์ผมใช้ชีวิตตามปกติกับภรรยาของผม และลูกชาย 3 คน ซึ่งตอนนี้อยู่ที่ประเทศไทย ทั้งผมและภรรยาไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่สูบบุหรี่ กลับกันคือเราทำงาน 7 วันต่อสัปดาห์ วันละ 12-15 ชั่วโมง เพื่อสร้างฐานะเศรษฐกิจสำหรับอนาคตทางการศึกษาของลูกชายสามคน การเงินของผมก็โปร่งใสดีและสามารถอธิบายที่ไปที่มาในบัญชีของเราทุกบาททุกสตางค์ ได้รวมถึงหนี้จำนวน 2.8 ล้านบาท ที่เราสามารถส่งใช้หนี้ธนาคารได้ทุกเดือน เราไม่ได้ใช้ชีวิตหรูหรา ทรัพย์สินที่มี ก็เป็นบ้านทาว์นเฮ้าส์เล็กๆ ครึ่งหนึ่งของเกสต์เฮาส์ 7 ห้องนอน ส่วนคอนโดมีเนียมที่ใช้เป็นสำนักงานสำหรับบริษัทสิ่งพิมพ์ (สิ่งพิมพ์ด้านการท่องเที่ยว 2 สื่อรวมทั้งหนังสือพิมพ์รายเดือน) และร้านอาหารจานด่วนของภรรยาผม »ซึ่งปัจจุบันมี โต๊ะ 6 แถว« นอกจากนี้ก็มีหุ้นจำนวนเล็กน้อย ในบริษัท ADP ซึ่งอยู่ในเมือง เรามีรถญี่ปุ่นเล็กๆ และจักรยานยนต์ นอกเหนือจากข้าวของในบ้าน เราไม่มีทรัพย์สินในเดนมาร์ก และผมก็ไม่ได้ติดหนี้ภาษีอากรกับหน่วยงานใดๆ ในเดนมาร์ก ผมเป็นชาวเดนมาร์กที่มาจากต่างประเทศ และภรรยาผมเป็นคนไทย ชีวิตของผมและการเงินของผมสามารถไปรอดได้ นอกเหนือจากงานภรรยาและผมยังได้ใช้เวลาที่เหลือซึ่งมีอย่างจำกัดไปกับงานการกุศลผ่านการเป็นสมาชิกในสโมสร และวัดพุทธท้องถิ่น เราเป็นชาวพุทธทั้งคู่ (ปู่ของภรรยาผมที่เสียชีวิตไปแล้วเป็น พระสงฆ์ และเป็นเจ้าอาวาสของวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย) ผมเสียใจจริงๆ ที่ได้ยินข้อกล่าวหาที่น่า รังเกียจซึ่งผมเคยได้ยินมาก่อนแล้ว ผมไม่สามารถอธิบายได้ว่ามันมาจากไหน แม้ว่าผมจะพยายามนึกถึงข้อสมมุติฐานและชื่อผู้ปล่อยข่าวก็มีผู้แจ้งให้ผมในการอ้างชื่อของผม ครอบครัวและเพื่อนสนิทซึ่งรู้จักผมดี ทั้งที่เดนมาร์กและประเทศไทยเชื่อมั่นในตัวผมว่ามันเป็นเรื่องน่าขันซึ่งทั้งหมดได้ยินมาจากตำรวจเดนมาร์กที่แสดงข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับผม และการเงินของผม(ไม่เกี่ยวกับคนอื่น) แต่ตำรวจก็ไม่เคยแสดงความสนใจใดๆ ที่ได้สร้างข้อหาเหล่านี้ให้กระจ่างให้แก่ผม ผมรู้แก่ใจดีและพระเจ้าก็รู้ว่า ข้อกล่าวหาทั้งหมดไม่มี และผมไม่เคยปิดบังสิ่งใดๆเลย ผมขอเสนอให้ลบชื่อผมออกจากเรื่องที่น่าขบขันนี้เสีย และตำรวจเดนมาร์กซึ่งต้องทำสิ่งนี้ ผมขอขอบคุณที่ เจลแลนด์-พอสเลน ไม่ได้อ้างชื่อของผม เป็นพิเศษเพื่อให้ครอบครัวทั้งที่เดนมาร์กและประเทศไทยของผมไม่ต้องทุกข์ทรมานไปมากกว่าที่เป็นอยู่จากข้อกล่าวหาผิดๆ ที่มีต่อผม และยินดีให้คุณพิมพ์ บทความเต็มในโทรสารนี้เกี่ยวกับบทความของคุณ«
ในวันเดียวกัน โจทก์ได้ส่งสำเนาคำร้องเพื่อขอสอบสวนลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2535 ทางโทรสารไปยัง อีริค โทมเล่ ในโทรสารนั้นโจทก์เขียนว่า » สิ่งที่แนบนี้เป็นสำเนาของเอกสารภายใน (คำร้องเพื่อขอ สอบถาม) ซึ่งข้าพเจ้าหมายถึงคำสนทนาทางโทรศัพท์เมื่อวานนี้ «คำร้องเพื่อขอสอบสวนดังกล่าวนั้น เกี่ยวกับ F. ในคดีนี้ F. ถูกกล่าวหาว่าได้ทำการละเมิดหลายครั้งตามมาตรา 191 ตามประมวลกฎหมายอาญา รวมทั้งในช่วงตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2534 จนถึงพฤศจิกายน 2534 พร้อมทั้งดำเนินการกับโจทก์ และผู้ถูกกล่าวหา D และบุคคลอื่นที่ไม่ได้ระบุเพื่อนำ หรือพยายามให้มีการนำเฮโรอีนจำนวน 40 กิโลกรัม จากประเทศไทย เข้ามาในเดนมาร์กผ่านท่าเรืออิสระที่โคเปนเฮเกน ในคำร้องเพื่อขอสอบถามตำรวจ จากทนายความ คาร์เส่น เอ็กเบิร์จ คริสเตนเซ่น ได้ร้องขอว่าที่ทนายความได้ยินมานั้นใครที่สามารถ ดูแลผลประโยชน์ของผู้ถูก กล่าวหาหรือผู้ต้องสงสัยซึ่งรวมถึงโจทก์ด้วย ตามหัวข้อ » สร้างธุรกิจ สแกนดิเนเวียให้ครอบคลุมจากประเทศไทย« ในฤดูใบไม้ร่วง ปี 2520 ได้ส่งคำเชิญเพื่อดำเนินการเบื้องต้น และประชุมเพื่อให้มีการตรวจสอบอย่างเป็นทางการในวันที่ 2 หรือ 3 พฤศจิกายน 2540 ทั้งกรุงเทพฯ หรือพัทยา โจทก์เป็นหนึ่งในผู้ลงลายมือชื่อจำนวนทั้งหมดสามคน ซึ่งไม่ตรงกับเบื้องหลังนี้ กับคนอื่นๆ ที่ อีริค โทมเล่ จำเลยยังได้เขียนต่อใน 4 เรื่อง ซึ่งตีพิมพ์ใน เจลแลนด์-พอสเลน ในวันนั้น ซึ่งหมายถึง การแสดงสิทธิเรียกร้องของโจทก์ ทั้ง 4 เรื่องมีการพาดหัวดังต่อไปนี้ »บริษัทปีระมิดจะขายเครื่องสำอาง ในเดนมาร์ก « ,» พลอยในประเทศไทย « ,» บริษัทปีระมิดต้องการตัดชาวเดนมาร์ก 2 คน ออกไป «และ» การแข่งขันเพื่อตำแหน่งสูงสุดในบริษัท ปีระมิด« ในข้อความนี้ นอกเหนือจากสิ่งอื่นๆ ยังอ้างถึง บริษัท นู สกิน ที่จะเข้าสู่ตลาดเดนมาร์กเหมือนที่โจทก์ได้รับการอ้างเกี่ยวกับเรื่องนั้นตามแบบที่ได้แสดงในข้อเรียกร้องของโจทก์ หลังเริ่มกระบวนการทางกฎหมายในคดีปัจจุบัน ทนายความโจทก์ได้ส่งคำร้องไปยังตำรวจโฮเปนเฮเกน ตามจดหมายลงวันที่ 25 สิงหาคม 2541 ทนายความตำรวจ คาร์เส่น เอ็กเบิร์จ คริสเตนเซ่น ได้แจ้งว่าคดีระหว่าง F. cf. ได้เพิกเฉยต่อคำร้องขอเพื่อขอสอบถามลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2535 ว่าข้อกล่าวหา F ได้ถูกเพิกถอนแล้ว และให้ยุติการสืบสวนในส่วนที่เกี่ยวข้องเดิม ยังได้กล่าวเพิ่มเติมอีกว่าโจทก์ไม่เคยถูกสอบสวน โดยตำรวจฝ่ายอาชญากรรมที่เกี่ยวกับข้อสงสัยที่หยิบยกขึ้นมา จำเลย นักหนังสือพิมพ์ อีริค โฮลเกอร์ โทมเล่ เนลสัน ได้กล่าวว่าเขาทำงานในฐานะนักหนังสือพิมพ์มา 33 ปี และเป็นการทำงานใน เจลแลนด์-พอสเลน มา 27 ปี เขาได้ยินเกี่ยวกับโจทก์ครั้งแรกในปี 2539 จากลูกจ้างที่สถานทูตเดนมาร์กในประเทศไทย และได้อยู่ในประเทศไทยเพื่อรายงานเกี่ยวกับ R นามแฝง———ซึ่งได้หลบหนีมาจากเรือนจำของรัฐเวอริสโลแซล และขณะนี้ถูกจำคุกอยู่ในประเทศไทย เขายังเคยมีการพบปะ กับ F. มาก่อน ซึ่งบอกว่าเป็นความเห็นของตำรวจว่า คือโจทก์ซึ่งเป็นตัวการสำคัญในวงจรค้ายาเสพติด เขายังบอกพี่สาวของ R มากกว่านั้น และได้กล่าวว่าเขากำลังถูกตำรวจสอบสวน และตำรวจได้เปิดเผยว่าโจทก์เป็นผู้ต้องสงสัยเกี่ยวกับอาชญากรรมยาเสพติด
ในประเทศไทย เขาบังเอิญได้พบโจทก์ และคุยกันทุกเรื่องกลางแจ้งเกือบทั้งวัน โจทก์ได้บอกถึงสิ่งอื่นๆ ที่เข้าไปรับช่วงรถของ R วันหนึ่งหลังจากที่เขาโทรศัพท์หาโจทก์ และบอกว่าโจทก์เป็นผู้ต้องสงสัยใน ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดอย่างชัดเจน และโจทก์ต้องการพูดเรื่องนี้กับเขามากที่สุด อย่างไรก็ตามเขา ก็ประสบความสำเร็จในการของสัมภาษณ์ จึงได้กลับไปที่เดนมาร์ก ในเดือนสิงหาคม 2539 เขาได้โทรศัพท์ไปหาโจทก์อีกครั้งเพื่อขอพูดคุยในเรื่องข้อกล่าวหา โจทก์ได้บอกว่าเขาทราบเรื่องข้อกล่าวหานั้นแล้ว และยังรู้ด้วยว่ารูปของตนเองอยู่ในแฟ้มรูปภาพของตำรวจ โจทก์ยังได้กล่าวอีกว่าเขามีรายการการสอบสวนอยู่ในมือ จากรายดังกล่าวปรากฎว่าเขาอาจเป็นตัวการสำคัญคนหนึ่งในคดียาเสพติด หลังจากนั้นเขาก็ได้รับโทรสาร จดหมายดังกล่าวข้างต้นเนื้อหาในโทรสารยังไม่น่าสนใจซึ่งจำเลยได้มาจากโจทก์ระหว่างการสนทนาที่ยาวนานในครั้งแรก และนี่รวมทั้งสิ่งอื่นๆด้วย คือเหตุผลว่าทำไมจำเลยจึงเลือกที่จะไม่พิมพ์ จดหมายทั้งหมด ในปี 2540 เจลแลนด์-พอสเลน ได้รับคำเชิญที่เกี่ยวกับว่า บริษัท นู สกิน กำลังมองหาพนักงานขายสำหรับเริ่มกิจกรรมในสแกนดิเนเวีย จากสิ่งนี้เองที่ปรากฎว่าผู้สนใจเหล่านั้นอาจทำให้ชื่อของพวกเขาตกต่ำลงหลายคน รวมทั้งโจทก์ และที่ปรึกษา คริสเตียน วอร์มมิ่ง หลังจากนั้นเขาก็ได้พูดคุยเรื่องตำรวจ และในช่วงหนึ่งในคำสนทนาเหล่านี้ว่าที่กองบัญชาการตำรวจเขาได้เห็นภาพของโจทก์ในแ ฟ้ม เกี่ยวกับผู้ต้องสงสัยในคดีอาชญากรรมยาเสพติดปัจจุบัน เขาไม่ต้องการเปิดเผยว่าใครคือคนที่ตำรวจให้ ข้อมูลนี้มาภาพของโจทก์ อยู่อันดับหนึ่งในแฟ้มภาพ รวมทั้งผู้ต้องสงสัยคนอื่นๆ อีก 3 คน ภาพจะถูกวางตามลำดับขั้น ซึ่งตำรวจสันนิษฐานว่าคนที่เกี่ยวข้องเหล่านี้อยู่ในองค์กร หลังจากนั้นเขาก็กลับมาประเทศไทยเพื่อขอทราบจากโจทก์ถึงความเกี่ยวพันของโจทก์ และ คริสเตียน วอร์มมิ่ง ในการเปิดตัว นู สกิน เขาได้พบปะกับโจทก์ที่สำนักงานของเขาในประเทศไทย โจทก์ไม่ได้พูดเกี่ยวกับ นู สกิน หรือกรณีของ ยาเสพติด แต่พูดเกี่ยวกับพัทยาว่าควรจะดีขึ้นเท่านั้น หลังจากนี้เขาได้เขียนข้อความในหนังสือพิมพ์ซึ่งเกี่ยวกับกรณีนี้ด้วยข้อความต่างๆ รวมทั้งสิ่งอื่นๆ ได้เขียนเพื่อเตือนผู้คนที่อาจถูกรับสมัครโดย นู สกิน นอกเหนือจากการพิจารณาสำหรับโจทก์ และครอบครัวเขาเขียนเกี่ยวกับการเริ่มต้นของโจทก์ในบทความเท่านั้น เขาประเมินว่าจากสิ่งนี้ว่าคนที่ได้รับคำเชิญอาจเข้าใจว่ามันเกี่ยวกับอะไร เพื่อสนับสนุนข้อเรียกร้องของเขา โจทก์ได้โต้แย้งว่าการประเมินต่างๆ ที่ใส่ลงไปไม่เป็นความจริง และเป็นการทำลายชื่อเสียง โจทก์ไม่ได้ยินยอมให้ทำการพิมพ์เผยแพร่บทความโทรสารโจทก์ในเดือนสิงหาคม 2539 เป็นที่เข้าใจได้ในลักษณะนั้นซึ่งเนื้อหาอาจถูกพิมพ์เผยแพร่ได้ทั้งหมด และยังไม่ได้สรุปว่าไม่มีการอ้างชื่อเต็มของโจทก์ เมื่อเป็นที่ทราบกันในวงกว้าง ว่าหมายถึงใคร จำเลยไม่มีความสุจริต และยังไม่ทำตามข้อกำหนดของมาตรา 269 วรรค 1 ตามประมวลกฎหมายอาญา จำเลยยังไม่ได้ทำการสืบเสาะความถูกต้องของเนื้อหาในบทความให้ชัดเจนเพียงพอ
มีการพูดคุยซึ่งเป็นเรื่องข่าวลือที่ไม่ได้มีเอกสารยืนยันบางอย่างที่โจทก์ได้ปฏิเสธมาโดยตลอด แม้ว่าอาจ เป็นเหตุเพื่อเตือนวิธีการปีระมิดของ นู สกิน ซึ่งไม่สามารถเป็นหลักฐานในการกล่าวหาโจทก์ว่าเป็นตัวการสำคัญเกี่ยวกับยาเสพติด มีการพูดบางอย่างเกี่ยวกับข้อกล่าวหาที่ร้ายแรงมาก ซึ่งเป็นกรณีทีก้าวร้าวรุนแรงซึ่งข้อหานั้นมาจากหลายกรณีในหนังสือระดับชาติขนาดใหญ่อย่าง เจลแลนด์-พอสเลน และค่าชดเชยที่ ทำให้ชื่อเสียงเสียหายอย่างน้อย 500,000 โครน ในการสนับสนุนข้อกล่าวหาของเขา จำเลยได้ยืนยันว่า เขาควรได้รับการยกฟ้อง เพราะโจทก์ได้ให้ความยินยอมในการลงบทความตามโทรสารของโจทก์ในเดือนสิงหาคม 2539 ที่มีถึง อีริค โทมเล่ เท่านั้น ยิ่งไปกว่านั้น ตามบทบัญญัติในมาตรา 269 วรรค 1 ของประมวลกฎหมายอาญา จำเลยจะต้องมีความสุจริตเกี่ยวกับข้อกล่าวหาที่ใส่ลงไป และคำตัดสินนี้ที่นอกเหนือจากนี้ต้องถูกตีความอย่างเบาตามมาตรา 10 ของอนุสัญญาสิทธิมนุษยชน ซึ่งถูกกำหนดโดยคำตัดสินหลายๆ คำตัดสินของศาลสูง บทความในหนังสือพิมพ์ถูกอ้างอิงไปทุกที่ซึ่งโจทก์เป็นแค่ผู้ต้องสงสัยในอาชญากรรมยาเสพติด ซึ่งเหมือนกับที่กล่าวในแต่ละครั้งว่าตำรวจไม่มีหลักฐานเพียงพอสำหรับโจทก์ โดยยังไม่มีการ โต้แย้งว่าโจทก์ยังอยู่ในข้อสงสัยในปี 2535 แต่ขัดแย้งกับภูมิหลังของข้อความของ อีริค โทมเล่ ที่ต้องถูกพิสูจน์ความถูกต้องเพื่อสันนิษฐานว่า เมื่อได้มีการเขียนข้อความนั้นมีข้อสงสัยปัจจุบันต่อโจทก์ด้วย อาจมีผลประโยชน์กับหน่วยงานที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องในอดีตของโจทก์ที่เกี่ยวกับการเริ่มกิจกรรม นู สกิน ในสแกนดิเนเวีย ค่าชดเชยสำหรับการทำให้ชื่อเสียงเสียหายจำนวน 500,000 โครน มากเกินไป ในทุกกรณีทีโจทก์สามารถเรียกร้องได้ตามกฎหมาย นอกเหนือจากนี้ข้อเกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง ในการสูญเสียของโจทก์
เหตุผล และข้อสรุปของศาลสูง : บทย่อจากบทความหนังสือพิมพ์ซึ่งโจทก์ได้ขีดเส้นใต้ไว้ในข้อเรียกร้องของโจทก์ซึ่งอยู่ในข้อหาทำให้โจทก์เสื่อมเสียชื่อเสียง เทียบเคียงมาตรา 267 วรรค 1 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ความยินยอมของโจทก์ตามโทรสารวันที่ 29 สิงหาคม 2539 เพื่อพิมพ์เผยแพร่บทความเต็มในโทรสารไม่ได้ขยายรวมไปถึงเนื้อหาซึ่งได้ทำตามบทความในหนังสือพิมพ์ในคดีปัจจุบัน ตามภูมิหลัง
บทสนทนาของโจทก์กับจำเลย อีริค โทมเล่ โจทก์ได้โทรสารถึง อีริค โทมเล่ และ คำสนทนาของจำเลย อีริค โทมเล่ กับตำรวจ F และพี่สาวของ R ซึ่งเป็นสิ่งชัดแจ้งโดยฝ่ายจำเลยว่า จำเลยมีเหตุผลเพียงพอที่จะสันนิษฐานได้ว่ายังมีข้อสงสัยในปัจจุบัน ว่าโจทก์เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมยาเสพติด ข้อกล่าวหาเหล่านั้นทำไปด้วยความสุจริต เทียบเคียงตามมาตรา 269 วรรค 1 แห่งประมวลกฎหมายอาญา สำหรับการประเมินว่าจำเลยได้กระทำการจัดการเรื่องหลักฐานที่น่าสนใจทั่วไปอย่างเหมาะสมเทียบเคียงมาตรา 269 วรรค 1 วรรคย่อยสุดท้ายแห่งประมวลกฎหมายอาญา เป็นการเริ่มประเด็นว่าได้กำหนดไว้ในกรณีตามกฎหมายว่าเมื่อการชั่งน้ำหนักการพิจารณาสำหรับอิสระของการแสดงออก ต่อการพิจารณาสำหรับการป้องกันการทำให้ชื่อเสียงเสียหายซึ่งต้องนำเข้าสู่การพิจารณาว่าจะไม่มีข้อจำกัดอย่างไม่มีเหตุผลในการเขียนสื่อสิ่งพิมพ์ ในฐานะสุนัขเฝ้าบ้านสาธารณะ เมื่ออีกด้านหนึ่งที่พิจารณาเห็นว่ากิจกรรมที่โจทก์ รวมทั้งคนอื่นๆ พยายามก่อตั้งขึ้นในสแกนดิเนเวียอาจเกี่ยวข้อง และมีผลกับคนจำนวนมาก และอีกด้านหนึ่งที่พิจารณาอาจเป็นอาชญากรรมอย่างร้ายแรง ซึ่งโจทก์ตามข้อมูลที่จัดหาให้แก่จำเลยซึ่งเป็นข้อสงสัย จำเลยมีสิทธิ์ กล่าวหาดังกล่าว หากจำเลยจึงได้รับยกเว้นโทษตามมาตรา 269 วรรค 1 แห่งประมวลกฎหมายอาญา และตามภูมิหลังนี้ คำร้องขอต่อศาลให้ยกฟ้องของจำเลยเป็นไปตาม ………….ภายใน 14 วัน หลังจาก ได้ชำระค่าใช้จ่ายทางกฎหมายให้แก่จำเลย 25,000 โครน
คำพิพากษาศาลสูง การฟ้องร้องคดีในช่วงแรก ได้นำส่งคำพิพากษาโดยศาลสูงของเวสเทอร์แผนก 5 เมื่อ วันที่ 6 กันยายน 2543 ผู้พิพากษาทั้งห้าที่ทำคำพิพากษาได้แก่ : เวนเลอร์ เพทเอร์สัน, เทอร์เบน เมลเชอร์, ปีเตอร์ บ็อค, บอร์จ ดาห์ล และ โทมัส เรอร์เด็ม โดย นีลส์ สตอร์ม, มาร์เต็นท์ โคลอฟ ได้ร้องขอให้ คำตัดสินซ้ำให้ยกเลิกการชำระเงิน ซึ่งรวมถึงค่าใช้จ่ายในการพิมพ์คำพิพากษา และค่าชดเชยฐานทำให้ ชื่อเสียงเสียหายของเขาในส่วนที่เกี่ยวข้องการค่าชดเชยฐานทำให้ชื่อเสียงเสียหาย นีลส์ สตอร์ม มาร์เต็นส์ โคลอฟ ได้ยื่นฟ้องอีกฉบับเพื่อเรียกร้องสิทธิ์ให้ชำระเงินอย่างน้อย 500,000 โครน ฝ่ายจำเลย คือ อีริค โฮลเกอร์ โทมเล่ เนลสัน และ เจอร์เกน เอ็จโบล ได้ยื่นคำร้องของให้ยกอุทธรณ์ นีลส์ โคลอฟ ได้ระบุว่า มีข้ออ้างเพียงประการเดียวเกี่ยวกับความเกี่ยวพันกับอาชญากรรมยาเสพติดของเขาที่เป็นเหตุผลในการ เรียกร้องของเขา มีข้อตกลงระหว่างคู่กรณีว่าข้ออ้างเหล่านั้นมีเนื้อหาที่เป็นความผิดฐานทำให้ชื่อเสียงเสียหาย เทียบเคียงมาตรา 267 วรรค 1 ของประมวลกฎหมายอาญาตามวรรค 3 และ นีลส์ โคลอฟ ไม่ได้ให้ความยินยอมในการเปิดเผยข้อหาต่าง ๆ จำเลยไม่เคยยืนยันว่ามีการทำข้อพิสูจน์ความจริงในข้อสนับสนุนของ คำร้องยกอุทธรณ์ ซึ่งร้องขอว่าข้อหาต่างๆเกิดขึ้นด้วยความสุจริต และเพื่อการจัดการหลักฐาน ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างเหมาะสม จำเลยไม่เคยโต้แย้งว่า เจอร์เกน เอ็จโบล ต้องรับผิดร่วมกัน จากบทความที่ อีริค โทมเล่ ได้เขียนขึ้นตามมาตรา 13 ของพระราชบัญญัติความผิดของสื่อ บทความแรกในเจลแลนด์-พอสเลน เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2540 มีบทความต่อไปนี้ :
»บริษัทปีระมิด จะขายเครื่องสำอางในเดนมาร์กโดย อีริค โทมเล่, ลูกค้าพิเศษจากพัทยา, ประเทศไทยของ เจลแลนด์-พอสเลน – โดยผู้ต้องสงสัยเกี่ยวกับยาเสพติดชาวเดนมาร์กในระดับหัวหน้าของบริษัท ปีระมิดอเมริกากำลังวางแผนรุกเข้ามาให้ครอบคลุมตลาดเครื่องสำอางเดนมาร์กในปีหน้า ในฤดูใบไม้ผลินี้ บริษัท นู สกิน มาประเทศไทยและกำลังรับสมัครพนักงานจากสมาชิกในแวดวงสแกนดิเนเวีย ในประเทศไทยเพื่อ ) »เปิดสแกนดิเนเวีย« หลังปีใหม่ ในฤดูใบไม้ร่วงที่ผ่านมา xx ผู้นำในการรณรงค์เรื่องการรับสมัครได้ติดต่อสถานทูตเดนมาร์กที่กรุงเทพฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งความเกี่ยวข้องทางธุรกิจ และสร้างดอกผลให้แก่ นู สกิน ภรรยาชาวไทยของที่ปรึกษา คริสเตียน วอร์มมิ่ง เป็นกลุ่มแรกที่เขียนสัญญาในฐานะผู้ขายในช่วงการเปิด นู สกิน เมื่อวันที่ 12 มีนาคมของปีนี้ ความเกี่ยวข้องกับผู้ต้องสงสัย ในเรื่องยาเสพติดอีกคน คือนักธุรกิจชาวเดนมาร์กในเมืองตากอากาศพัทยาซึ่งเป็นผู้ต้องสงสัยเรื่อง ยาเสพติด รายงานของตำรวจได้อ้างว่าเขาเป็นตัวการสำคัญของวงการเฮโรอีนที่ใหญ่ที่สุดซึ่งตำรวจเดนมาร์กได้เปิดเผยออกมา มีมากกว่า 40 คน ที่ถูกตั้งข้อหาเรื่องการค้าของเถื่อน และการขายเฮโรอีนที่มาจากประเทศไทย แต่ตำรวจไม่มีหลักฐานในกรณีของนักธุรกิจคนดังกล่าว ในระหว่างการสอบสวน ตำรวจทำงานอย่างใกล้ชิดร่วมกับ คริสเตียน วอร์มมิ่ง ซึ่งรู้เกี่ยวกับข้อสงสัยของตำรวจ »แต่ข้าพเจ้าไม่เคยแจ้งเขา« คริสเตียน วอร์มมิ่ง กล่าวกับ เจลแลนด์-พอสเลน »และข้าพเจ้าได้เรียนรู้เป็นครั้งแรกว่า เขาอยู่กับ นู สกิน เมื่อข้าพเจ้าเห็นชื่อของเราในเอกสารเดียวกัน« xx เป็นคนที่ทำงานให้ นู สกิน ในบริเตนใหญ่ซึ่งปฎิเสธที่จะบอกเกี่ยวกับแผนสำหรับสแกนดิเนเวีย และทำให้ชัดขึ้นว่า ควรพูดคุยกันถึงสิ่งนี้ในวงเล็กๆ ในฐานะผู้มาเยือนแต่ในเดือนตุลาคม สมาชิกทั้งหมดของสังคม สแกนดิเนเวียได้รับเชิญ ให้เข้าร่วมในธุรกิจหลายล้าน หนึ่งในนั้นอาจลงนามที่ xx คริสเตียน วอร์มมิ่ง และผู้ต้องสงสัยในเรื่อง ยาเสพติดชาวเดนมาร์ก คริสเตียน วอร์มมิ่ง ได้เน้นว่าชื่อของเขาถูกนำไปใช้ในทางที่ผิด เพราะนั่น ไม่ใช่เขา แต่เป็นภรรยาของเขาซึ่งเป็นคนขาย สำหรับ นู สกิน เขาได้แจ้ง xx เดี๋ยวนั้นว่าภรรยาจะไม่ทำงานให้บริษัทอีกแล้ว คำเชิญที่ดึงดูดความสนใจเป็นพิเศษสำหรับตำรวจด้านยาเสพติดที่โคเปนเฮเกน เพราะคริสเตียน วอร์มมิ่ง มีการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ตำรวจเดนมาร์ก ซึ่งกำลังทำการสืบสวนอยู่ใน ประเทศไทย นักสืบด้านอาชญากรรม อีริค บีจอร์น จากแผนกยาเสพติดไม่ต้องการให้ความเห็นเกี่ยวกับ ชื่อที่ระบุตัว » สมมุติฐานก่อนหน้านี้ว่าเรามีบางอย่างที่แน่นหนาเกี่ยวกับนักธุรกิจ « อีริค บีจอร์น กล่าว

รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศไม่มีความเห็นในเรื่องบทบาทของนักการทูตใน นู สกิน แต่เขาเป็นหนี้ส่วนตัวแล้วถึง 40 ล้าน โครน และในเดือนกุมภาพันธ์เขาถูกเรียกตัวจากสถานทูตในกรุงเทพฯ เพราะมีปัญหาในเรื่องความร่วมมือ« บทความต่อมาใน เจลแลนด์-พอสเลน เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2540, 14 ธันวาคม 2540 และ 21 ธันวาคม 2540 ตามหัวข้อตามลำดับต่อไปนี้ »แผนการในประเทศไทย«, » บริษัทปีระมิดต้องการคัดชาวเดนมาร์ก 2 คนออก «และ» การแข่งขันสำหรับตำแหน่งระดับสูงสุด ในบริษัท« ในจดหมายลงวันที่ 25 สิงหาคม 2541 จากตำรวจโคเปนเฮเกนโดยทนายความตำรวจ คาร์เส่น เอ็คเบิร์จ คริสเตนเซ่น ถึงทนายความ เจอร์เกน จาร์คอบเซ่น ดังต่อไปนี้ จากสิ่งอื่นๆที่อ้างถึง »เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2534 ตำรวจโคเปนเฮเกน แผนกสืบสวนคดีอาชญากรรม แผนก N ได้รับข้อมูลมาจากบุคคลที่ไม่ประสงค์ให้ออกนามว่าลูกความของคุณ นีลส์ โคลอฟ อาจพัวพันในการนำเฮโรอีนจากประเทศไทยจำนวนทั้งสิ้นประมาณ 40 กิโลกรัมเข้าเดนมาร์ก จากผู้ให้ข้อมูลว่า นีลส์ โคลอฟ อาจเป็น ตัวการสำคัญที่อยู่เบื้องหลังการขนของเถื่อนครั้งนี้ และยังว่าอีกว่า F อาจได้รับของในโคเปนเฮเกน ระหว่างการสืบสวนคดีอาญาในเวลาต่อมากับ F ซึ่งบุคคลนี้ได้ถูกตั้งข้อกล่าวหาตามภูมิหลังข้อมูลของ ผู้ให้ข้อมูลที่ไม่ประสงค์จะออกนามว่าให้ความช่วยเหลือในการขนเฮโรอีนประมาณ 40 กิโลกรัม โดยผิดกฎหมายเข้ามา พร้อมกับลูกความของคุณ และคนอื่นๆอีกหลายคน F ปฏิเสธการกระทำผิดตามข้อกล่าวหา และแจ้งว่าข้อกล่าวหาไม่เป็นความจริงทั้งหมด ดังนั้นในคำร้องวันที่ 27 พฤษภาคม 2535 ที่ศาลประจำเมืองกรุงโฮเปนเฮเกน ตามมาตรา 747 แห่งพระราชบัญญัติความยุติธรรมในทางปกครอง ได้ยื่น คำร้องมีการพิจารณาคดีทางศาลกับ F ซึ่งถูกตั้งข้อกล่าวหาว่าเป็นหนึ่งในจำนวนที่เกี่ยวข้องในช่วงประมาณเดือนสิงหาคม 2534 ถึง พฤศจิกายน 2534 พร้อมกับในดำเนินการร่วมกับ นีลส์ โคลอฟ และคนอื่นๆ อีกหลายคนเพื่อนำหรือพยายามนำเฮโรอีนจำนวนประมาณ 40 กิโลกรัม จากประเทศไทยเข้ามาใน โฮเปนเฮเกน

ในการยื่นคำร้อง ศาลได้ถูกร้องขอมีทนายความในการพิจารณาคดี เพื่อดูแลประโยชน์ของผู้ต้องสงสัย นีลส์ โคลอฟ และคนอื่นๆ ที่ถูกตั้งข้อหา หรือเป็นผู้ต้องสงสัยในคดีนี้ จากเหตุผลนี้ทำให้ศาลแต่งตั้ง ทนายความ เอช คาร์อาสสตรัป ลาเซ่น เป็นทนายในเรื่องที่เกี่ยวข้องนี้เหล่านั้น ในช่วงการสอบหา ข้อเท็จจริงในชั้นศาลของ F ทนาความ เฮช คาร์อาสสตรัป ลาเซ่น ได้ปรากฎตัวแทนลูกความของคุณ และคนอื่นๆ ที่ถูกตั้งข้อหา หรือเป็นผู้ต้องสงสัยในคดีนี้ F ให้การปฏิเสธว่ากระทำผิดตามปัญหา ซึ่งปรากฎว่าไม่มีทั้งในช่วงระหว่างที่ฟ้องคดีกับ F อีกทั้งไม่ปรากฎสิ่งอื่นใดที่ยืนยันข้อมูลของผู้ไม่ประสงค์จะออกนามทำให้ต่อมาต้องถอนข้อกล่าวหาที่มีต่อ F และให้ระงับการสืบสวนข้อสงสัยดังกล่าว นีลส์ โคลอฟ ไม่เคยถูกสอบโดยกรมสืบสวนคดีอาชญากรรมเกี่ยวกับข้อสงสัยเพิ่มเติม «ข้อความที่ให้เพื่อใช้ที่ศาลสูง นีลส์ โคลอฟ แถลงพร้อมกับสิ่งอื่นๆ ว่าเขาเกิดในปี 2491 โดยอาศัยอยู่ในพัทยา ประเทศไทยกับภรรยา และบุตร 3 คน ประมาณ 12 ปีก่อน เขาได้ย้ายมาที่ประเทศไทย เขาได้เปิดบริษัทร่วมกับภรรยา คือ บริษัท ดรากอน เอ็นเตอร์ไพร์ส จำกัด เพื่อดำเนินการต่างๆ โดยออกหนังสือทำหนังสือรวบรวม หมายเลขโทรศัพท์ท้องถิ่น สิ่งพิมพ์ด้านการท่องเที่ยว และโฮมเพจทางอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้เขายังมี รายได้อีกเล็กน้อยจากโรยัล แจลลี่ บริษัทที่ดำเนินการเอง รายได้ต่อปีอยู่ที่ประมาณ 600,000 บาท ซึ่ง เท่ากับ 120,000 โครน เขาตระหนักดีว่ามีชื่อเสียงที่ดี และได้รับความนับถือในสังคมท้องถิ่นที่พัทยา เขาและภรรยาใช้เวลาส่วนใหญ่ในการทำกิจกรรมในสังคมท้องถิ่น เขาเข้าร่วมสโมสรบริการ หอการค้าท้องถิ่น และเป็นเจ้าหน้าที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในศาลจังหวัดด้วย ยิ่งไปกว่านั้นเขาเป็นหัวหน้าลูกเสือ และที่ปรึกษาหัวหน้าลูกเสือแห่งชาติ รวมทั้งเข้าร่วมในโครงการการกุศล เขานับถือศาสนาพุทธและเป็น นักมังสวิรัติ และยอมรับว่าที่เขาเคยถูกตัดสินในช่วงทศวรรษ 1970 ว่ามีความผิดฐานเกี่ยวกับการใช้ความรุนแรง การบังคับขู่เข็น ดำเนินธุรกิจทรัพย์โจรกรรม ทำให้เสียทรัพย์ จัดหาสิ่งลามกของ เวสเทอร์โบร โดยได้รับโทษจำคุกเป็นเวลา 15 เดือน ซึ่งก็ได้รับโทษไปเรียบร้อยแล้ว ในปี 2521 เอ็กสทรา บลาเด็ท ได้ออกบทความเรื่องราวเกี่ยวกับตัวเขา และการกระทำความผิดทางอาญาของเขา โดยที่เขาไม่ได้เกี่ยวข้องเป็นการส่วนตัวในการสร้างบทความเหล่านั้น เขายังได้พูดกับนักหนังสือพิมพ์ สติจ เจนเส่น ซึ่งเขียน บทความว่าจะไม่ดำเนินการตามกฎหมาย เขาไม่เคยถูกตำรวจพิจารณาเกี่ยวกับข้อสงสัยเรื่องอาชญากรรม ยาเสพติด และรู้จักกับ R เพียงผิวเผิน เมื่อตอนที่เขาอยู่ที่พัทยา เขารู้จัก L ซึ่งเป็นพี่น้องของ R ด้วย เขาคุยกับ L เกี่ยวกับคดี และเธอได้แจ้งให้ทราบว่าเธอ และ อีริค โทมเล่ เคยคุยกันเกี่ยวกับเขา เขายังรู้จัก F ด้วย เขาได้พบกับ โทมเล่ ครั้งแรกในพัทยาซึ่งเป็นปีที่ดีก่อนที่จะมีการเขียนบทความเหล่านั้น ซึ่งคาดว่าเป็นเดือนสิงหาคม ปี 2539

พวกเขาได้พบกันโดยบังเอิญที่ร้านอาหารซึ่งก็นั่งที่โต๊ะตัวเดิม และยังได้พูดคุยกันทุกอย่างภายใต้แสงอาทิตย์ หลังจากนั้นคำสนทนาก็เป็นตัวอักษรของบทสัมภาษณ์ และเขาได้ถาม โทมเล่ ถึงสิ่งที่เขาเข้าไปเกี่ยวข้อง โทมเล่ แจ้งว่าเขาเป็นนักหนังสือพิมพ์ พวกเขาคุยกันเกี่ยวกับเรื่องในอดีตของ นีลส์ และข้อสงสัยเกี่ยวกับอาชญากรรมยาเสพติด รวมทั้งคำร้องขอให้มีการขอสอบถามตั้งแต่ปี 2535 ที่มีต่อ F คาดว่าในปี 2535 เคยได้รับเอกสารชิ้นหนึ่งจากนักท่องเที่ยวมาก่อนซึ่งปรากฎว่าเขาเป็นผู้ต้องสงสัยว่าเกี่ยวพันกับอาชญากรรมยาเสพติด เป็นเวลานานก่อนที่เขาจะคุยกับ โทมเล่ เขาจึงได้ติดต่อตำรวจให้แสดงความชัดแจ้งเกี่ยวกับข้อสงสัยในเรื่องอาชญากรรมยาเสพติด เขาได้รับหนังสือรับรองประวัติอาชญากรรมของตนเอง เมื่อหลายปีก่อน หลังการสนทนากับ โทมเล่ นีลส์ เขาได้ส่งโทรสารสำเนาคำร้องเพื่อขอสอบถามไปให้เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2539 โดยเข้าใจในเรื่องนี้ว่า โทมเล่ ต้องการช่วยเหลือในการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับตำรวจหาก โทมเล่ ต้องการเปิดเผยทุกอย่างซึ่งควรเป็นเนื้อหาทั้งหมดของโทรสาร มันคือ XX ซึ่งได้เริ่มเกี่ยวกับ นู สกิน โวโรสได้ขอให้ นีลส์ เป็นผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ของบริษัท ซึ่ง นีลส์ ก็หลงใหล ในตัวผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์บำรุงผิว และอาหารเพื่อสุขภาพที่มีคุณภาพสูงมาก มันไม่ใช่เรื่องความประทับใจของเขาที่สัมผัสกับปัญหาทุกอย่างเกี่ยวกับบริษัทได้อีกครั้ง โครงสร้างของบริษัทมีลักษณะ เป็นปีระมิด ซึ่งไม่ได้เป็นลักษณะของการตลาดโดยทั่วไป ที่บริษัทขายสินค้าตรงไปยังลูกค้ามีคนๆ หนึ่งอยู่ในตำแหน่งที่จะจัดผลิตภัณฑ์ของลูกค้าคนอื่นๆ โดยมีการจ่ายค่านายหน้าให้คนเหล่านั้นซึ่งอยู่เบื้องหลังโดยมีรูปแบบของปฏิกิริยาลูกโซ่ซึ่งจะมีคนๆหนึ่งมอบหมายคนขายคนอื่นๆ ซึ่งไม่มีความเสี่ยงที่จะสูญเสียเงิน เพราะคนๆนั้นไม่มีจ่ายค่าธรรมเนียมเข้ามาเป็นผู้จำหน่าย เขาไม่เคยพบ คริสเตียน วอร์มมิ่ง เกี่ยวกับเรื่อง นู สกิน แต่อาจพบเขามาแล้วจากความเกี่ยวพันอื่น นีลส์ ไม่เคยชักชวนเป็นการส่วนตัวด้วยการลงนามร่วมในหนังสือเชิญชวน โวโรส เป็นผู้ร่างหนังสือเชิญชวน และ นีลส์ ก็อนุญาต โวโรส ในการเป็น ผู้ลงนามร่วม นีลส์ เคยทำสัญญาผู้จำหน่าย นู สกิน แต่สัญญานี้ถูกยกเลิกไปแล้วในทันทีหลังจากมีการสอบถามเกี่ยวกับบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ใน เจลแลนด์-พอสเลน เขาต้องสูญเสียงานทั้งหมด

ที่ทำไปรายได้ที่สูญเสียไปอยู่ทีประมาณ 3 ล้านโครน กิจการสิ่งพิมพ์ใน บริษัท ดราก้อน เอ็นเตอร์ไพร์ส ตกลงประมาณ 1 ล้านบาทต่อปี และขาดทุนไปประมาณ 2 ล้านบาท ซึ่งเท่ากับ 400,000 โครน ในปีที่ผ่านมายังมีสิ่งอื่นๆ อีกเช่นการสูญเสียทางด้านการเงินอีกเล็กน้อย ยิ่งกว่านั้นบทความยังทำให้เกิดผลที่ตามมาซึ่งไม่ใช่ด้านการเงินสำหรับตัว นีลส์ และครอบครัวด้วย XX ได้กล่าวรวมสิ่งอื่นๆ ว่าที่อยู่ถาวรของเขาอยู่ในลอนดอน เขาทำงานตลาดเครือข่าย และทำสัญญาผู้จัดจำหน่ายกับ นู สกิน เขาทำเงินได้ 1-1.5 ล้านโครนต่อปี เขารู้จัก โคลอฟ ที่ประเทศไทย ตัวเขาเองก็อยู่ที่ประเทศไทยประมาณ 1 ปีครึ่ง เริ่มตั้งแต่ 2540 จนถึง 2541 เขาได้พบ โคลอฟ ในการประชุมซึ่งเขาแนะนำ โคลอฟ ให้รู้จักธุรกิจ นู สกิน เขาถาม โคลอฟ เกี่ยวกับบางอย่างสำหรับเขา และได้เริ่มการ เชิญชวนและเขียนข้อความ หนังสือเชิญ ถูกพิมพ์ขึ้นที่สำนักงานของ โคลอฟ และส่งไปยังนักหนังสือพิมพ์ที่กรุงเทพ คริสเตียน วอร์มมิ่ง ยังเป็น ผู้แทนจำหน่ายของ นู สกิน อีกด้วย เขาสันนิษฐานว่า วอร์มมิ่ง ได้ตอบตกลงที่จะเข้าร่วมธุรกิจ แต่อย่างไรก็ตามไม่มีการส่งหนังสือเชิญออกไป เมื่อ วอร์มมิ่ง ได้รับแจ้งทางโทรศัพท์ว่าเขาไม่ต้องการเป็นผู้ลงนามร่วม แต่หนังสือเชิญได้ถูกส่งออกไปยังบุคคลสำคัญในเวลานั้นแล้ว นู สกิน อยู่ในรายชื่อผู้ผลิตของผลิตภัณฑ์บำรุงผิว และอาหารเสริม บริษัทมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ ยูทาห์ ประเทศสหรัฐอเมริกา และมีชื่ออยู่ในตลาดหลักทรัพย์ นิว ยอร์ก บริษัทเริ่มดำเนินการในปี 2527 และตอนนี้มียอดขายประมาณ 1 พันล้านเหรียญสหรัฐ โดยได้ขายผลิตภัณฑ์ใน 33 ประเทศ » บริษัทปีระมิด «ในความเห็นของเขาได้สะท้อนให้เห็นแผนการที่ไม่ผิดกฎหมาย มันไม่ใช่บางสิ่งที่คนสามารถใช้วิธีการแต่งตั้งสำหรับ นู สกิน ได้ ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมากระหว่างการตลาดเครือข่าย กับบริษัท ปีระมิด เขาได้เห็นบทความของ เจลแลนด์-พอสเลน มาแล้ว เขาไม่ได้ตอบโต้บทความนี้เป็นการส่วนตัวเขาเป็นแค่ผู้จัดจำหน่าย และไม่สามารถแถลงการณ์ใดๆ ในนามของ นู สกิน ได้เขาและ โคลอฟ ได้รับหนังสือจาก นู สกิน เกี่ยวกับ บทความดังกล่าว แต่หลังจากนั้นอีกหลายเดือน เขาก็ได้เป็นผู้จำหน่ายอีกครั้ง นู สกิน พิจารณาว่าบทความว่าเป็นเรื่องร้ายแรง เขาไม่รู้ว่าผู้บริหารอาจดำเนินการบางอย่างที่ใกล้จะเกิดกับ เจลแลนด์-พอสเลน เขาได้ประมาณการสูญเสียของ โคลอฟ ไว้ที่ประมาณ 3-4 ล้านโครน มีกฎภายในที่ให้ปกป้อง » กิจกรรมก่อนการตลาด «- เริ่มผิดพลาด ในตอนทีเกิดปัญหานั้น เขาไม่รู้กฎในเรื่องนี้ เขาได้โทรศัพท์หา โทมเล่ 2-3 ครั้ง เขาไม่ถามเกี่ยวกับประเด็นทั้งหมด และแจ้งให้ โทมเล่ ทราบถึงเรื่องที่โทรทั้งหมด อีริค โทมเล่ ยังกล่าวเพิ่มอีกว่าเหตุผลที่หนังสือเชิญชวนเป็นเหตุวุ่นวายมาจากชื่อของ โคลอฟ และ วอร์มมิ่ง มาอยู่ด้วยกัน เขารู้จัก โคลอฟ ในที่ประชุมที่ประเทศไทยในปี 2539 รวมไปถึงเรื่องในอดีตของ โคลอฟ และข้อสงสัยเกี่ยวกับอาชญากรรมยาเสพติดและ วอร์มมิ่ง ได้อ้างกับเขาเกี่ยวกับคดีอื่นจากประเทศไทย

นอกจากนั้น เขารู้ว่า วอร์มมิ่ง เป็นเจ้าหน้าที่ติดต่อประสานงานของตำรวจเกี่ยวกับคดียาเสพติด ในประเทศไทย เขาพูดกับตำรวจเกี่ยวกับหนังสือเชิญนั่นมาจากมีคำกล่าวปฏิญาณ และความประหลาดใจมากมาย เมื่อตำรวจไม่เชื่อว่าชื่อของคนสองคนปรากฎบนเอกสารเดียวกัน ตำรวจอ้างว่า วอร์มมิ่ง ต้องรู้ ในเรื่องข้อสงสัยที่ใกล้กับ โคลอฟ เขายังได้ยื่นคำร้องขอดูเอกสารของเงื่อนไขการจ้างงานของ วอร์มมิ่ง ที่กระทรวงการต่างประเทศ และได้พูดคุยกับบางคนที่สถานทูต วอร์มมิ่ง ได้ติดต่อเขา และเล่าว่า ภรรยาของเขาที่เป็นตัวแทนจำหน่ายของ นู สกิน วอร์มมิ่งยืนยันว่าเขาไม่รู้ว่าชื่อตัวเองไปปรากฎใน จดหมาย จนกระทั่งเห็นจดหมายเชิญที่ เจลแลนด์-พอสเลน ได้รับ และก็น่าจะเป็น วอร์มมิ่งที่บอกกับเขาว่าบริษัทชื่อ นู สกิน ในฤดูใบไม้ร่วงปี 2540 ยังได้คุยกับตำรวจเพิ่มเติม และเขาได้ก็แสดงแฟ้มภาพให้ดูซึ่งเขาก็ได้เห็นภาพของ โคลอฟ เขาได้โทรศัพท์จากเดนมาร์กไปถึง โวโรส แต่ก็ไม่ได้เล่าอะไรให้ โวโรส ฟัง ในเดือนพฤศจิกายน 2540 ก่อนที่จะมีบทความนี้ไม่นาน เขาได้เดินทางไปประเทศไทย และได้ไปเยี่ยม โคลอฟด้วย แต่ก็ไม่ได้บอก โคลอฟ เรื่อง นู สกิน แต่อย่างไร โคลอฟ พูดว่าได้ส่งหนังสือเชิญให้แก่สมาชิกทั้งหมดในสังคมชาวสแกนดิเนเวียแล้ว เขาพบข้อมูลบางอย่างเกี่ยวกับ นู สกิน บนอินเตอร์เน็ต และรู้ด้วยว่ามีคนหลายร้อยคนได้รับหนังสือเชิญ ซึ่งก็สงสัยเช่นเดียวกับตำรวจเกี่ยวกับเรื่อง โคลอฟ รวมทั้งการนำชื่อของวอร์มมิ่งไปใช้ในทางที่ผิด จากประเด็นความเห็นของนักหนังสือพิมพ์ ข้อเท็จจริงที่ว่าไม่ต้องการพูดถึงกิจกรรมสาธารณะที่มีผลในทางลบ ยิ่งไปกว่านั้นเขายังรู้อีกว่า โคลอฟ ขับรถของ R เหตุผลสำหรับบทความคือหนังสือเชิญถูกส่งไปตามที่อยู่ของคนหลายคนซึ่งอาจจะได้เป็น ผู้จำหน่ายรายใหม่ ในสแกนดิเนเวีย เขาต้องให้ตนเองมั่นใจว่าคนเหล่านี้ทั้งหมดต้องได้รับใบสมัครจาก นู สกิน ในประเทศนี้ ซึ่งก็ชัดเจนว่าคนอยู่เบื้องหลังกิจกรรมนี้ และประเด็นเกี่ยวกับการนำชื่อของ เจ้าหน้าที่การทูตไปใช้ในทางที่ผิด อาจมีประเด็นเล็กน้อยเกี่ยวกับความเดือดร้อนของคนจำนวนไม่กี่พันคนด้วย เขาโทรศัพท์ไปถึง รองประธาน แลรี่ แม็คแฟร์แลนด์ ซึ่งแจ้งว่าพวกเขากำลังทำหนังสือแจ้งไปถึง โคลอฟ และโวโรส เกี่ยวกับ »กิจกรรมก่อนการตลาด« มันไม่ใช่เป็นความประทับใจของเขาซึ่ง แม็คแฟร์แลนด์ ไม่ได้มีชื่ออยู่ในบทความ และต้องการปฏิเสธบทความนั้น แม็คแฟร์แลนด์ เสนอที่จะจ่ายค่าเดินทางไปสหรัฐอเมริกา เพราะเขาอาจ ได้ข้อมูลของบริษัทมากกว่านี้ แต่เขาก็ไม่ได้ตอบรับการเชิญ ครั้งนี้ การได้พบปะกับกับ โคลอฟ ครั้งแรกในเดือนสิงหาคม 2539 เกิดขึ้นเนื่องจากเรื่องอื่นที่เขากำลังทำอยู่ซึ่งเกี่ยวข้องกับ R เขาเคยพบ F ที่ร้านอาหารในเม็กซิโก ใน เวสโทรโปร มาก่อน ซึ่ง F ได้กล่าวว่า ตำรวจสงสัย โคลอฟ ในเรื่องอาชญากรรมยาเสพติด

ซึ่งที่นี่เองที่เขาได้ยินเป็นครั้งแรกว่า โคลอฟ อยู่ในแฟ้มภาพของตำรวจ เมื่อเขาไปเยือนประเทศไทยก็ได้พบกับ โคลอฟ โดยบังเอิญที่ร้านอาหารเขานั่งที่โต๊ะตัวเดิมพร้อมกับบุคคลที่สาม นั่นคือ B ซึ่งเป็นที่รู้จักกันไปทั่วในเรื่องการขนกัญชาเถื่อนจำนวน 250 กิโลกรัม เขาได้คุยกันหลายชั่วโมงเกี่ยวกับทุกเรื่องในที่ ภายใต้แสงอาทิตย์เขาพูดกับ โคลอฟ ว่าเขามีความสุขที่ได้คุยกับ โคลอฟ เกี่ยวกับข้อสงสัยของตำรวจ เขากลับไปที่สำนักงานของ โคลอฟ แต่สำนักงานไม่เปิดเมื่อเขาโทรหา โคลอฟ จากเดนมาร์ก โคลอฟ ต้องการบอกเจรจาเกี่ยวกับคำร้องสอบถามเรื่องราว และส่งโทรสารมาให้ ซึ่งเขาก็ได้รับความประทับใจต่าง ๆ มากมายของสถานะทางการเงินของ โคลอฟ เขาได้พูดกับพี่น้องของ R นั่นคือ L ด้วยเมื่อเดินทางถึง และเมื่อเขาอยู่ระหว่างทางบ้านเกิดมาจากประเทศไทย ยิ่งไปกว่านั้น ยังได้พูดคุยกับคนอื่นๆ ที่อยู่ในพัทยา รวมทั้งชาวอินเดียคนหนึ่งที่ชื่อ อามอน เขาจะไม่เขียนบทความ หากไม่มีหนังสือเชิญจาก นู สกิน ออกมา เขาต้องการแจ้ง นู สกิน และคนที่อยู่เบื้องหลังงานนี้เท่านั้น เขาไม่สนใจเรื่องการกำหนดตำแหน่ง บริษัทปีระมิดว่าเป็นแผนการที่ผิดกฎหมายแต่อย่างใด F ได้กล่าวว่าเขาไม่เคยพบกับ โทมเล่ ที่ร้านอาหารเม็กซิโก และไม่เคยคุยกับเขา โซเรน คราจ เพ็ดเตอร์สัน ได้กล่าวอย่างอื่นด้วยว่าเขามีคุณสมบัติของ นักหนังสือพิมพ์ และตอนนี้ทำงานเป็นที่ปรึกษาด้วยการสื่อสารที่กรรมาธิการตำรวจแห่งชาติ ซึ่งทำงาน มาปีหนึ่ง แต่นั้นเป็นผู้รับการอบรมที่ เจลแลนด์-พอสเทน ตั้งแต่ปี 2537 ถึง 2539 และเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2539 ที่ร้านอาหารเม็กซิโก F ซึ่งถูกเรียกว่า——ด้วย และ อีริค โทมเล่ ก็อยู่ด้วย การเริ่มต้นการประชุมมีเหตุมาจากเพื่อนร่วมงานคนหนึ่งได้เขียนเกี่ยวกับตัวเขาเองเคยเขียนบทความเกี่ยวกับ R เขาเป็นคน จัดการประชุมที่ร้านอาหารเม๊กซิโก และได้ติดต่อ F จุดประสงค์หลักในการประชุมนี้ก็คือเพื่อจะได้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการหลบหนีจากเรือนจำและโลกยาเสพติดเดนมาร์กในพัทยา เขามั่นใจ มากว่า F มีส่วนในการประชุมนี้ และเขาพูดเกี่ยวกับชีวิตของ R ในพัทยาระหว่างสิ่งอื่นๆ F ได้ไปร่วมงานวันเกิดของ R อย่างไรก็ตามไม่มีข้อสงสัยเลยว่า F กล่าวโทษบรรดาเพื่อนของเขา เขามีความคุ้นเคยกับเบื้องหลังของ F รวมทั้งการที่เขาได้รับโทษจำคุกเกือบครึ่งชีวิตของเขาในข้อหาอาชญากรรมยาเสพติด ให้โทษ และการจัดหาเป็นต้น และว่ามีส่วนในเอกสารแสดงบรรพบุรุษเกี่ยวกับ R ในระหว่างการประชุมที่ร้านเม๊กซิโกดังกล่าว พวกเขาได้พูดถึง โคลอฟ เขารู้จัก โคลอฟ และไม่เคยพบกับ โทมเล่ เป็นคนที่พูดมากที่สุดเกี่ยวกับ โคลอฟ เนื่องจากเป็นบุคคลที่สนใจ R มากที่สุด มีคำถามเกี่ยวกับ โคลอฟ และการเงินของเขารวมถึงว่าเขาร่ำรวยขนาดไหน หนึ่งในนั่นคือการที่ โคลอฟ ได้รับช่วงรถจี๊บคันใหม่ของ R ส่วน F ได้เล่าเกี่ยวกับ โคลอฟ แต่ไม่ได้ใส่ร้ายเขา ได้มีการพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องนี้ตัวเขาเป็นผู้ต้องสงสัยแต่เขา ไม่เคยต้องโทษ เขาจำไม่ได้ว่าพวกเขาได้พูดถึงแฟ้มภาพถ่ายของทางการตำรวจแต่พวกเขาก็ได้ทำไป เพียงพอทีเดียว อย่างไรก็ตามเขาจำได้บางสิ่งบางอย่างเกี่ยวกับภาพถ่ายดังกล่าวที่ตำรวจแต่เขาจำไม่ได้ว่า F ได้เอ่ยถึงหรือเปล่า F ไม่ได้กล่าวโดยตรง และ โคลอฟ ถูกสงสัยเกี่ยวกับอาชญากรรมยาเสพติดให้โทษการพบปะกันเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง

ตามข้อสังเกตของศาลฎีกา ในบทความนี้ซึ่งตีพิมพ์ใน เจลแลนด์-พอสเทน ในเดือนพฤศจิกายน และ เดือนธันวาคม 2540 ได้กล่าวซ้ำๆ ว่าบุคคลที่เอ่ยถึงซึ่งเป็นที่รู้จักกันมากมายในกลุ่มคนเดนมาร์ก ในประเทศไทยระบุว่าเป็น นีลส์ โคลอฟ ซึ่งตำรวจเดนมาร์กสงสัยว่าเป็นตัวการในเครือข่ายยาเสพติด ที่กว้างขวางบทความยังมีเรื่องเกี่ยวกับข้อกล่าวหาที่ร้ายแรงต่อ นีลส์ โคลอฟ เทียบเคียงมาตรา 267 วรรค 1 ของประมวลกฎหมายอาญา เกี่ยวกับ อีริค โทมเล่ เรื่องราวในบทความ เพื่อแจ้งต่อ นู สกิน และคนที่อยู่เบื้องหลังในลักษณะการเตือนประชาชน ซึ่งอาจได้รับเลือกจาก นู สกิน ให้เข้าร่วมในแนวคิดทางธุรกิจพิเศษของ นู สกิน จากนี้ไปประเด็นคือข้อกล่าวหาทั้งหลายได้รับการยกเว้นจากการลงโทษตามมาตรา 269 วรรค 1 แห่งประมวลกฎหมายอาญาหรือไม่ สำหรับผู้ที่กล่าวหาด้วยความสุจริตโดยใช้การจัดการหลักฐาน ที่เป็นประโยชน์โดยทั่วไปอย่างเหมาะสม แนวทางตามบทบัญญัตินี้เกี่ยวกับวรรค 1 ของมาตรา 267 ซึ่งเป็นที่เข้าใจในประเด็นมาตรา 10 แก่อนุสัญญายุโรปในเรื่องสิทธิมนุษยชน โดยพื้นฐานสำหรับความเกี่ยวพันของข้อกล่าวหาในบทความ อีริค โทมเล่ ได้อ้างข้อเท็จจริงว่า นีลส์ โคลอฟ ได้ส่งคำร้องขอสอบถาม ข้อเท็จจริงลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2535 ให้แก่ตนเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2539 จากคำร้องเพื่อขอสอบถาม ข้อเท็จจริงนี้ปรากฎว่าในเวลานั้นตำรวจเพียงแต่สงสัยเท่านั้นแต่ยังไม่ได้ตั้งข้อหา นีลส์ โคลอฟ ว่าเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในความผิดเรื่องยาเสพติดกับคนอื่นอีก 2 คนซึ่งถูกตั้งข้อกล่าวหาในปี 2534 อีริค โทมเล่ ยังได้รับแจ้งจาก นีลส์ โคลอฟ ในวันที่ 29 สิงหาคม 2539 อีกว่าตำรวจไม่ได้สอบสวน นีลส์ โคลอฟ และไม่ได้ตอบกลับตามที่คำเสนอของเขาในเรื่องการแสดงข้อมูลทั้งหมดเพื่อขอความชัดเจนด้านสถานภาพของตนเองในปี 2535 จากภูมิหลังนี้ อีริค โทมเล่ ต้องทราบว่ามีประเด็นสงสัยเพียงเรื่องเดียวซึ่งในตอนท้ายก็ไม่มีมูลเพียงพอที่จะพิสูจน์การสอบสวนของ นีลส์ โคลอฟ ดังนั้นข้อสงสัยของตำรวจในปี 2535 เพียงลำพังจึงไม่มีเหตุผลเพียงพอที่จะอ้างว่า นีลส์ โคลอฟ เป็นผู้ต้องสงสัยว่าเป็นตัวการสำคัญเกี่ยวกับยาเสพติด ซึ่งพิสูจน์ไม่ได้ว่า อีริค โทมเล่ ได้รับข้อมูลจากตำรวจเดนมาร์กในปี 2540 ซึ่งอาจพิสูจน์ความถูกต้องของ ข้อกล่าวหาในบทความได้ ไม่มีสิ่งชัดเจนที่สามารถอ้างเป็นข้อมูลว่า อีริค โทมเล่ ได้รับจากคนอื่น เช่น F และพี่น้องของ R โดยเพิ่มสิ่งนี้ลงไปว่าเรื่องราวในบทความต้องไม่ทำให้เกิดข้อสงสัยเพิ่มขึ้นว่า นีลส์ โคลอฟ เกี่ยวพันกับอาชญากรรมยาเสพติด ตามเบื้องหลังนี้ ศาลสูงพิจารณาแล้วว่าการขยายเสรีภาพในการแสดงออกซึ่งโดยทั่วไปต้องให้ประโยชน์แก่สื่อเพื่อประโยชน์ในการทำหน้าที่ในบทบาทผู้ตรวจสอบของสื่อได้อย่างเต็มที่ในวิถีทางที่เหมาะสม ซึ่งไม่ใช่สำหรับในคดีนี้ซึ่งชั่งน้ำหนักระหว่างการพิจารณาสำหรับ นีลส์ โคลอฟ ที่อาจนำไปสู่การตั้งข้อกล่าวหาว่าควรได้ยกเว้นการลงโทษตามมาตรา 269 วรรค 1 ตามประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งเกี่ยวด้วยกับมาตรา 10 แห่งอนุสัญญาสิทธิมนุษยชน คำตัดสินเกิดขึ้นตามมาตรา 267 วรรค 1 ตามประมวลกฎหมายอาญา เกี่ยวด้วยกับวรรค 3 ทั้ง อีริค โทมเล่ และ เจอร์เกน เอ็จโบล ให้ถูกปรับ 20 กระทงๆ ละ 1,000 โครน พร้อมทั้งจำคุก 20 วัน คำร้องขอให้ยกเลิกให้เป็นไปตามมาตรา 273 วรรค 1 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ดังที่ได้กำหนดไว้ข้างล่าง อีริค โทมเล่ และ เจอร์เกน เอ็จโบล ถูกพิพากษาตามมาตรา 26 วรรค 1 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดสำหรับความเสียหายโดยให้ร่วมกันชดใช้เงินที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อชื่อเสียงของบุคคลนี้ซึ่งพิจารณาความร้ายแรงของข้อกล่าวหา และตามคำแถลงกำหนดที่ 100,000 โครน นีลส์ โคลอฟ ไม่ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่ามีจำนวนเท่าไรเพื่อใช้ประกอบการพิมพ์เผยแพร่เหตุผล และข้อสรุปของคำพิพากษาศาลสูงจากส่วนนี้ตามมาตรา 273 วรรค 2 แห่งประมวลกฎหมายอาญา พื้นฐานไม่เพียงพอต่อการกำหนดจำนวนเงินสำหรับการพิมพ์เผยแพร่ คำพิพากษา ซึ่งมีข้อสังเกตุว่า นีลส์ โคลอฟไม่ได้ยื่นคำร้องเพื่อเผยแพร่คำพิพากษาใน เจลแลนด์ โพสเลน ตามมาตรา 54 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดของสื่อ

สำหรับสิ่งนี้ ศาลพบว่า จำเลย อีริค โฮลเกอร์ โทมเล่ เนลสัน และ เจอร์เกน เอ็จโบล ถูกตัดสินให้ถูกปรับ 20 กระทงๆ ละ 1,000 โครน พร้อมทั้งโทษจำคุก 20 วัน การยืนยันดังกล่าวพบว่าไม่มีการขอประกัน จากบทความใน เจลแลนด์ พอสเลน เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2540 ก)»…. ผู้ต้องสงสัยเรื่องยาเสพติด ชาวเดนมาร์ก « ข)»………นักธุรกิจชาวเดนมาร์กผู้ต้องสงสัยในเรื่องยาเสพติดในเมืองชายหาดพัทยา ในรายงานตำรวจเขาถูกอ้างอิงว่าเป็นตัวการสำคัญวงการยาเสพติดที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งตำรวจเดนมาร์กได้เปิด ข้อมูลมากกว่า 40 คน ถูกตั้งข้อหาการค้าของเถื่อน และการขายเฮโรอีนจากประเทศไทย แต่ตำรวจไม่มีหลักฐานในกรณีของนักธุรกิจ ……..« ค) »……….นักธุรกิจชาวเดนมาร์กผู้ต้องสงสัยในเรื่องยาเสพติด «จากบทความใน เจลแลนด์ โพสเลน เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2540 ง) » แต่อดีตรองหัวหน้าสถานทูต ในกรุงเทพฯ อาจเป็นพรรคพวกของคนที่ชื่อ NC ซึ่งตำรวจประกาศมาหลายปีว่าเป็นตัวการในวงการ ยาเสพติดชาวเดนมาร์ก แม้ว่าจะทำให้สถานทูตและตำรวจโดยความประหลาดใจ …..« จ)»….. ตัวการ ผู้ต้องสงสัยเรื่องยาเสพติด «ฉ)» แต่ที่กองบัญชาการตำรวจในกรุงโฮเปนเฮเกนมีภาพถ่ายของหนึ่งใน ผู้ถูกเชิญมา คือ NC ซึ่งอยู่ในตำแหน่งสูงสุดของปีระมิดบนสมาชิกของเครือข่ายยาเสพติดขนาดใหญ่ที่สุด ที่ตำรวจเดนมาร์กไม่พบ……«ช)» และหลังจากนั้นครั้งแล้วครั้งเล่า ชื่อของเขาอยู่ในรายงานตำรวจเกี่ยวกับ G, R และคนอื่นๆอีกเกือบ 40 คน ซึ่งถูกตัดสินจำคุกเป็นเวลานานในข้อหาค้าของเถื่อน และขายเฮโรอีน ที่มาจากประเทศไทย « ซ)» แต่ตำรวจไม่พบหลักฐานในเรื่องยางเสพติดที่มีต่ออดีตกลุ่มอาชญากรซึ่งถูก ตัดสินว่ามีความผิดฐานใช้ความรุนแรง กระทำธุรกิจ โจรกรรมทรัพย์ และจัดหาในโลกของสิ่งลามกของเวสเทอร์โบร ในปลายทศวรรษ 1970……« ฌ)» ……มีการคุยกันในเรื่องที่สันนิษฐานได้ว่าหัวหน้า วงการของเครือข่ายยาเสพติด เจ้าของภาพที่ถูกแสดงโดย และใหญ่ที่สุด – ทั้งพยาน และจำเลย – ในช่วงที่มีการสอบสวนในประเทศที่แผนกยาเสพติด « ญ)» ผู้ต้องสงสัยในเรื่องยาเสพติด NC…..« ฎ)» หนึ่งใน ตัวการใหญ่จากปีระมิดชาวสแกนดิเนเวียที่ถูกต้องสงสัยอย่างมาก «จากบทความใน เจลแลนด์ โพสเลน เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2540 : l) » คนหนึ่งใช้ชีวิตในเมืองตากอากาศพัทยาที่ถูกต้องสงสัยมาหลายปีว่าเป็นตัวการในวงการยาเสพติดพร้อมด้วยสมาชิกชาวเดนมาร์กมากกว่า 40 คน ซึ่งได้รับการตัดสินว่าค้าของเถื่อน และขายเฮโรอีนที่มาจากประเทศไทย แต่ตำรวจเดนมาร์กไม่พบหลักฐานเกี่ยวกับข้อสงสัยว่าอาจเป็นตัวการใหญ่ «จากบทความใน เจลแลนด์ โพสเลน เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2540 : M ฏ) » อีกคนที่ถูกสงสัย มาหลายปีว่าเป็นตัวการใหญ่ของวงการยาเสพติดที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งตำรวจเดนมาร์กได้เปิดเผย แต่ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับเขา « ค่าชดเชยสำหรับการทำให้ชื่อเสียงของบุคคลนี้เสียหาย อีริค โฮลเกอร์ โทลเล่ เนลสัน และ เจอร์เกน เอ็จโบล ต้องจ่ายคนละ 100,000 โครนให้แก่ นีลส์ สตอร์ม มาร์เทนส์ โคลอฟ สำหรับค่าใช้จ่าย ในการดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลสูง และศาลฎีกาเสียหาย อีริค โฮลเกอร์ โทลเล่ เนลสัน และ เจอร์เกน เอ็จโบล ต้องจ่ายคนละ 25,000 โครน ให้กองคลัง และ 35,000 โครน ให้แก่ นีลส์ สตอร์ม มาร์เทนส์ โคลอฟ โดยให้ชำระตามคำพิพากษาภายใน 14 วันหลังจากการส่งคำพิพากษาของศาลฎีกา

About the Author

Andrew Drummond

Andrew Drummond is a British independent journalist and occasional television documentary maker. He is a former Fleet Street, London, journalist having worked at the Evening Standard, Daily Mail, Mail on Sunday, News of the World, Observer and The Times.

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

*

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.